ໂຮງຮຽນເທບສິຣິນ
ໜ້ານີ້ຕ້ອງການໃຫ້ແປເປັນພາສາລາວ ເພື່ອໃຫ້ເປັນໄປຕາມມາດຕະຖານຂອງວິກິພີເດຍ ເມື່ອແປສຳເລັດແລ້ວ ໃຫ້ນຳປ້າຍນີ້ອອກ |
ບົດຄວາມນີ້ຂາດການອ້າງອີງຈາກເອກະສານອ້າງອີງຫຼືແຫຼ່ງຂໍ້ມູນ. ກະລຸນາຊ່ອຍພັດທະນາບົດຄວາມນີ້ໂດຍຕື່ມແຫຼ່ງຂໍ້ມູນເປັນຕາເຊື່ອຖື. ເນື້ອຫາເຊິ່ງຂາດການອ້າງອີງອາດຖືກຄັດຄ້ານຫຼືນຳອອກ |
ໂຮງຮຽນເທບສິລິນ (ໄທ: โรงเรียนเทพศิรินทร์,ອັງກິດ: Debsirin School, ຫຍໍ້: ທ.ສ., DS) ແມ່ນໂຮງຮຽນລັດຖະບານຊາຍລ້ວນຂະໜາດໃຫຍ່ໃນກຸ່ມຈະຕຸລະມິດ ເຊິ່ງປະກອບດ້ວຍໂຮງຮຽນສວນກຸຫຼາບວິທະຍາໄລ ໂຮງຮຽນເທບສິລິນ ໂຮງຮຽນອັດສັມຊັນ ແລະໂຮງຮຽນກຸງເທບຄຣິສຕຽນວິທະຍາໄລ ຕັ້ງຢູ່ເລກທີ່ 1466 ຖະໜົນກຸງກະເສມ ແຂວງວັດເທບສິລິນ ເຂດປ້ອມປາບສັດຕູພ່າຍ ບາງກອກ
ໂຮງຮຽນເທບສິລິນ โรงเรียนเทพศิรินทร์ | |
---|---|
ນະ ສິຍາ ໂລກະວັດທະໂນ (ບໍ່ຄວນເປັນຄົນຮົກໂລກ)
| |
1466 ຖະໜົນກຸງກະເສມ ແຂວງວັດເທບສິລິນ ເຂດປ້ອມປາບສັດຕູພ່າຍ ບາງກອກ | |
ຂໍ້ມູນ | |
ຊື່ອັງກິດ | Debsirin School |
ອັກສອນຫຍໍ້ | ທ.ສ. |
ປະເພດ | ໂຮງຮຽນລັດຖະບານ |
ຂຶ້ນກັບ | ສພຖ. |
ສະຖາປະນາ | 15 ມີນາ ຄ.ສ. 1885 |
ຜູ້ກໍ່ຕັ້ງ | ພະບາດສົມເດັດພະຈຸລະຈອມເກົ້າເຈົ້າຢູ່ຫົວ |
ລະຫັດ | 1000100802 |
ຜູ້ອຳນວຍການ | ອະນັນ ຊັບວາລີ |
ພາສາ | ພາສາທີ່ເປີດການຮຽນການສອນໃນໂຮງຮຽນ
ໄທ, ອັງກິດ, ຝະລັ່ງ, ເຢຍລະມັນ, ຈີນກາງ, ຢີ່ປຸ່ນ |
ສີ | ຂຽວ ເຫຼືອງ |
ເພງ | ອະໂຫກຸມານ (ບົດຮ້ອງປະຈຳໂຮງຮຽນ)
ມາດໂຮງຮຽນເທບສິລິນ |
ສັນຍາລັກ | |
ເວັບໄຊຕ໌ | debsirin.ac.th |
ໂຮງຮຽນເທບສິລິນ ຢູ່ພາຍໃຕ້ສັງກັດສຳນັກງານຄະນະກຳມະການການສຶກສາຂັ້ນພື້ນຖານ ກະຊວງສຶກສາທິການ ແມ່ນໂຮງຮຽນປະຈຳວັດເທບສິລິນທະລາວາດລາຊະວໍລະວິຫານ ກໍ່ຕັ້ງຂຶ້ນໃນວັນທີ່ 15 ມີນາ ຄ.ສ. 1885 ຕາມພະລາຊະດຳລິຂອງພະບາດສົມເດັດພະຈຸລະຈອມເກົ້າເຈົ້າຢູ່ຫົວ
ປັດຈຸບັນໂຮງຮຽນເທບສິລິນມີອາຍຸ 133 ປີ ນອກຈາກນີ້ໂຮງຮຽນເທບສິລິນຍັງປະກອບໄປດ້ວຍ ໂຮງຮຽນເຄືອຂ່າຍທີ່ມີຄຳໜ້າວ່າ "ເທບສິລິນ" ອີກ 10 ແຫ່ງ
ໂຮງຮຽນເທບສິລິນແມ່ນໂຮງຮຽນລັດຖະບານແຫ່ງດຽວໃນປະເທດໄທທີ່ມີພະມະຫາກະສັດຊົງເຂົ້າຮັບການສຶກສາຄື ພະບາດສົມເດັດພະປໍຣະເມນມະຫາອານັນທະມະຫິດົນ ລັດຊະການທີ່ 8 ນອກຈາກນີ້ຍັງມີນັກຮຽນເກົ່າທີ່ດຳລົງຕຳແໜ່ງສຳຄັນທາງການເມືອງ ອາທິ ນາຍົກລັດຖະມົນຕີໄທ 4 ຄົນ ລວມເຖິງນາຍົກລັດຖະມົນຕີຄົນທຳອິດແຫ່ງມາເລເຊຍ
ປະຫວັດໂຮງຮຽນ
ດັດແກ້ໃນປີ ຄ.ສ. 1875 ພະບາດສົມເດັດພະຈຸລະຈອມເກົ້າເຈົ້າຢູ່ຫົວ ມີພະຊົນມາຍຸຄົບເບນຈະເພດ ຈຶງມີພະລາຊະດຳລິທີ່ຈະສ້າງພະອາຮາມເພື່ອຊົງອຸທິດພະລາຊະກຸສົນຖະຫວາຍສະໜອງພະເດດພະຄຸນແດ່ອົງພະລາຊະຊົນນະນີ ຄື ສົມເດັດພະເທບສິລິນທາບໍລົມລາຊິນີ ຈຶງຊົງພະກະລຸນາໂປດເກົ້າ ໃຫ້ສະຖາປະນາວັດເທບສິລາທາວາດຂຶ້ນ ໂຮງຮຽນເທບສິລິນ ໄດ້ຮັບການສະຖາປະນາຈາກອົງພະບາດສົມເດັກພະຈຸລະຈອມເກົ້າເຈົ້າຢູ່ຫົວ ເມື່ອວັນທີ່ 15 ມີນາ ຄ.ສ. 1885 ດ່ວຍພະລາຊະປາລົບที่ຈະທຳນຸບຳລຸງການສຶກສາເລົ່າຮຽນໃຫ້ຈະເລີນແພ່ຫຼາຍຂຶ້ນໂດຍຮວດເຮັວຈຶງມີພະບໍລົມລາຊະໂອງການໃຫ້ຈັດການສຶກສາສຳລັບລາຊະດອນຂຶ້ນໂດຍພະເຈົ້ານ້ອງຍາເທີພະອົງເຈົ້າດິດວໍລະກຸມານ (ກົມພະຍາດຳລົງລາຊານຸພາບ) ໄດ້ຈັດຕັ້ງໂຮງຮຽນປະລິຍັດທັມບາລີຂຶ້ນພາຍໃນວັດເທບສິລິນທາວາດ ໂດຍ ໃນຊ່ວງທຳອິດຂອງການຈັດຕັ້ງໂຮງຮຽນນັ້ນ ໂຮງຮຽນເທບສິລິນໄດ້ອາໄສສາລາການປະລຽນພາຍໃນວັດເທບສິລິນທາວາດແມ່ນທີ່ເຮັດການຮຽນການສອນ
ຄັ້ນເຖິງ ຄ.ສ. 1895 ສົມເດັດພະເຈົ້າບໍລົມວົງເທີ ເຈົ້າຟ້າພານຸຮັງສີສະຫວ່າງວົງ ກົມພະຍາພານຸພັນທຸວົງວໍລະເດດ ໄດ້ຊົງດຳລິທີ່ຈະສ້າງຕຶກຮຽນສຳລັບວັດເທບສິລິນທະລາວາດເພື່ອອຸທິດພະກຸສົນສະໜອງພະເດດພະຄຸນແຫ່ງອົງ ສົມເດັດພະເທບສິລິນທາບໍລົມລາຊິນີ ພະຊົນນະນີ ແລະເພື່ອອຸທິດພະກຸສົນແກ່ ໝ່ອມແມ້ນ ພານຸພັນ ນະ ອະຍຸດທະຍາ ຊາຍາຂອງພະອົງ ຕຶກຮຽນຫຼັງທຳອິດນີ້ໄດ້ຮັບການອອກແບບໃຫ້ມີສິລະປະເປັນແບບໂກທິກເຊິ່ງຖືວ່າແມ່ນອາຄານສິລະປະໂກທິກຍຸກທຳອິດແລະມີທີ່ດຽວໃນປະເທດໄທໂດຍສົມເດັດພະເຈົ້າບໍລົມວົງເທີເຈົ້າຟ້າຈິດຈະເລີນ ກົມພະຍານະລິດສະລານຸວັດຕິວົງເປັນຜູ້ອອກແບບແລະໃນການນີ້ ພະຍາໂຊຕຶກກະລາດເສດຖີ ໄດ້ບໍລິຈາກທຸນນະຊັບເພື່ອສ້າງຕຶກອາຄານຮຽນຫຼັງທີ່ສອງຂຶ້ນທີ່ດ້ານຂ້າງຂອງຕຶກຮຽນຫຼັງທຳອິດອີກນຳເພື່ອທົດແທນຄຸນບິດາມານດາ ຕຶກນີ້ມີນາມວ່າ ຕຶກໂຊຕຶກເລົາຫະເສດຖີ ແມ່ນຕຶກຮຽນວິທະຍາສາດ ແລະຖືວ່າທັນສະໄໝທີ່ສຸດໃນສະໄໝ
ປີ ຄ.ສ. 1902 ຕຶກຮຽນຫຼັງທຳອິດຂອງໂຮງຮຽນໄດ້ສ້າງເສັດແລະໄດ້ເຮັດພິທີເປີດການຮຽນການສອນໃນວັນທີ່ 9 ມິຖຸນາ ຄ.ສ. 1902 ດ້ວຍພະມະຫາກະລຸນາທິຄຸນແຫ່ງອົງພະບາດສົມເດັດພະບາດສົມເດັດພະຈຸລະຈອມເກົ້າເຈົ້າໄດ້ພະລາຊະທານນາມຕຶກຮຽນຫຼັງນີ້ວ່າ ຕຶກແມ້ນນະລຶມິດ ແລະ ໄດ້ພະລາຊະທານນາມໂຮງຮຽນ "ເທບສິລິນ" ອີກທັ້ງຍັງມີພະລາຊະດຳລິໃຫ້ຍ້າຍໂຮງຮຽນສວນກຸຫຼາບວິທະຍາໄລ ມາຍັງຕຶກແມ້ນນະລຶມິດອີກດ້ວຍ ເພື່ອລໍການກໍ່ສ້າງຕຶກອາຄານຮຽນທີ່ໂຮງຮຽນນັ້ນ
ຕຶກຮຽນຫຼັງທີ່ສາມຂອງໂຮງຮຽນເທບສິລິນນັ້ນເກີດຂຶ້ນໃນປີ ຄ.ສ. 1910 ອົງພະບາດສົມເດັດພະຈຸລະຈອມເກົ້າເຈົ້າຢູ່ຫົວ ພະລາຊະທານຊັບເຊິ່ງເປັນມໍລະດົກຂອງສົມເດັດພະເຈົ້າບໍລົມວົງເທີ ເຈົ້າຟ້າເຍົາວະມານນະລຶມົນ ກົມມະຂຸນສະຫວັນຄະໂລກລັກສະນະວະດີ ໃຫ້ກະຊວງສຶກສາທິການເຮັດການຈັດສ້າງຕຶກຂຶ້ນດ້ານກົງກັນຂ້າມຂອງຕຶກແມ້ນນະລຶມິດ ໂດຍຕຶກຮຽນຫຼັງນີ້ຍັງຄົງສິລະປະໂກທິກ ເຊິ່ງຖືເປັນສັນຍາລັກຢ່າງໜຶ່ງຂອງໂຮງຮຽນເທບສິລິນ ອາຄານຮຽນຫຼັງນີ້ສ້າງເສັດໃນປີຕໍ່ມາ ພະບາດສົມເດັດພະມຸງກຸດເກົ້າເຈົ້າຢູ່ຫົວ ລັດຊະການທີ່ 6 ພະລາຊະທານນາມວ່າ ເຍົາວະມານອຸທິດ ສຳລັບເຄື່ອງຄະລຸພັນຕ່າງໆ ໃນອາຄານນັ້ນ ສົມເດັດພະເຈົ້ານ້ອງຍາເທີ ເຈົ້າຟ້າຍຸຄົນທິຄຳພອນ ກົມມະຫຼວງລົບບຸລີລາເມດ ຊົງເປັນຜູ້ຕິດຕໍ່ໃຫ້ສັມເດັດພະເຈົ້າບໍລົມວົງເທີ ເຈົ້າຟ້າມາລິນີນົບພະດາລາ ກົມມະຂຸນສີສັດຊະນາໄລສຸລະກັນຍາແລະສົມເດັດພະເຈົ້າບໍລົມວົງເທີ ເຈົ້າຟ້ານິພານະພະດົນ ກົມມະຂຸນອູ່ທອງເຂດຂັດຕິຍະນາລີ ໄດ້ຊົງຮ່ວມກັນບໍລິຈາກ
ປີ ຄ.ສ. 1931 ໂຮງຮຽນເທບສິລິນໄດ້ເປີດໃຊ້ອາຄານຮຽນອີກນຶ່ງຫລັງຄື ຕຶກປິຍະລາດບໍພິດປະດິວະລັດດາ ຕຶກນີ້ເກີດຂຶ້ນຈາກທີ່ພົນເອກ ສົມເດັດພະເຈົ້າບໍລົມວົງເທີ ເຈ້າຟ້າຍຸຄົນທິຄຳພອນ ກົມມະຫຼວງລົບບຸລີຣາເມດ ໄດ້ຊົງໃຫ້ສ້າງຂຶ້ນ ເພື່ອເປັນການອຸທິດພະກຸສົນຖະຫວາຍແດ່ພະວິມາດາເທີ ພະອົງເຈົ້າສາຍສະວະລີພິຣົມ ກົມພະສຸດທາສິນີນາດ ປິຍະມະຫາລາດປະດິວະລັດດາ ພະມານດາຂອງພະອົງ ຕຶກຮຽນຢູ່ຕິດກັນກັບຕຶກເຍົາວະມານອຸທິດ ໂດຍຕຶກຫລັງນີ້ກະຍັງຄົງໄວ້ເຊິ່ງສິລະປະໂກທິກ
ໃນປີ ຄ.ສ. 1932 ພະວໍລະວົງເທີ ພະອົງເຈົ້າອານັນທະມະຫິດົນຊົງເຂົ້າຮັບການສຶກສາ ຫລັງຈາກນັ້ນອີກພຽງ 2 ປີ ພະອົງເຈົ້າອານັນກະໄດ້ສະເດັດຂຶ້ນຄອງລາດເປັນພະມະຫາກະສັດ ພະອົງທີ່ 8 ແຫ່ງລາຊະວົງຈັກກິີຊົງມີພະປໍຣະມາພິໄທວ່າ ພະບາດສົມເດັດພະປໍຣະເມນທະຣະມະຫາອານັນທະມະຫິດົນ ພະອັດຖະມະຮາມາທິບະດິນ ຊົງມີຄວາມຜູປພັນກັບ ໂຮງຮຽນເທບສິລິນມາໂດຍຕະຫຼອດ ມີພະມະຫາກະລຸນາທິຄຸນລົ້ນເກົ້າລົ້ນກະໝ່ອມແກ່ ໂຮງຮຽນເທບສິລິນ ສະມາຄົມນັກຮຽນເກົ່າ ຕະຫຼອດຈົນມວນໝູ່ລູກແມ່ຣຳເພີຍທຸກຄົນ
สงครามโลกครั้งที่สองได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นเมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรทิ้งระเบิดลงมาในพระนคร กระทรวงศึกษาธิการจึงสั่งปิดโรงเรียนทั่วพระนคร ด้วยเหตุที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ตั้งอยู่ใกล้สถานีรถไฟกรุงเทพนั้น เป็นเหตุให้โรงเรียนไม่สามารถหนีจากหายนะของสงครามนี้ได้ โดยเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ตึกแม้นนฤมิตร์ และ ตึกโชฎึกเลาหเศรษฐี ตึกเรียนสองหลังแรกของโรงเรียนได้รับภัยทางอากาศจากการทิ้งระเบิดทำให้ไม่ สามารถใช้ทำการเรียนการสอนได้อีกตลอดทั้งอาคารเรียนอีกหลายๆหลังก็ได้รับ ความเสียหายพอสมควร จากการที่แหล่งรวมจิตใจของชาวเทพศิรินทร์ได้ถูกภัยสงคราม ทางกระทรวงศึกษาธิการ วัดเทพศิรินทราวาส ตลอดถึงสมาคมนักเรียนเก่าฯ ได้ร่วมกันสร้างอาคารหลังใหม่ขึ้นมาทดแทนโดยคงศิลปะโกธิคอยู่เช่นเดิม อาคารหลังใหม่นี้ได้รับการขนานนามว่า ตึกแม้นศึกษาสถาน
โรงเรียน เทพศิรินทร์ ได้มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเหตุให้ต้องมีการขยายห้องเรียนขึ้น จนในปี พ.ศ. 2513 ทางโรงเรียนได้ร่วมกับสมาคมนักเรียนเก่าฯ ขออนุญาตทางวัดเทพศิรินทราวาส ใช้อาคารของทางวัดหลังหนึ่งเพื่อเป็นที่ทำการเรียนการสอนอาคารนั้นมีชื่อว่า ตึกนิภานภดล โดยอาคารนี้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล กรมขุนอู่ทองเขตขัตตินารี ได้สร้างขึ้นถวายแก่วัดเทพศิรินทราวาส ขณะเมื่อพระชันษา 28 ปี เสมอด้วยพระอัยยิกา สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชชนนี ในปี พ.ศ. 2467 เพื่อเป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม สำหรับพระภิกษุสามเณร
แต่ ด้วยการพัฒนาโรงเรียนไปอย่างรวดเร็วมาก ทำให้จำนวนห้องเรียนไม่เพียงพอ จึงทำให้ต้องมีการสร้างตึกเรียนขึ้นมาใหม่ ทำให้ทางโรงเรียนต้องมีการรื้อถอนตึกเรียนเดิม 2 หลังคือ ตึกเยาวมาลย์อุทิศ และ ตึกปิยราชบพิตรปดิวรัดา สำหรับตึกใหม่ที่สร้างขึ้นทดแทนเป็นอาคารเรียน 6 ชั้น และได้ใช้ชื่อว่า ตึกเยาวมาลย์อุทิศปิยราชบพิตรปดิวรัดา ตามตึกเรียนสองหลังเดิม ซึ่งในครั้งนั้นสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเสด็จมาในการวางศิลาฤกษ์ด้วย
โรงเรียนเทพศิรินทร์ ได้เติบโตขึ้นเป็นลำดับจำนวนนักเรียนมากขึ้นทุกปี จึงได้มีการสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติมอีกคือ อาคารภาณุรังษี อาคารรัชมังคลาภิเษก 2531 และ อาคารเทิดพระเกียรติ
ผู้อำนวยการ
ດັດແກ້รายนามผู้อำนวยการ | วาระการดำรงตำแหน่ง |
---|---|
เปลี่ยน | พ.ศ. 2431 |
ขุนอนุศิษฐ์วิบูลย์ | พ.ศ. 2435 |
พระยาโอวาทวรกิจ | มิถุนายน พ.ศ. 2445 - เมษายน พ.ศ. 2446 |
พระยาจรัลชวะนะเพท | 27 เมษายน พ.ศ. 2446 |
เอฟ.ยี.เทรส์ | 16 มิถุนายน พ.ศ. 2445 - พ.ศ. 2450 |
เอช.อี.สไปวีส์ | 6 สิงหาคม พ.ศ. 2450 - 11 สิงหาคม พ.ศ. 2452 |
ตี.ยัดจ์ | 11 สิงหาคม พ.ศ. 2452 - 4 มกราคม พ.ศ. 2462 |
เย.เอช.เซดชวิค | 17 พ.ศ. 2462 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2463 |
เอ็น.แอล.เซลลีย์ | 1 มีนาคม พ.ศ. 2463 |
พระสันธิวิทยาพัฒน์ | 10 มิถุนายน พ.ศ. 2478 - มกราคม พ.ศ. 2479 |
พระดรุณพยุหรักษ์ (บุญเย็น ธนโกเศศ) | 4 มกราคม พ.ศ. 2479 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2481 |
หลวงชุณหกสิการ | 1 มิถุนายน พ.ศ. 2481 - ต้นปี พ.ศ. 2482 |
หลวงสวัสดิสารศาสตรพุทธิ | ต้นปี พ.ศ. 2482 - พ.ศ. 2485 |
ถวิล ดารากร ณ อยุธยา | พ.ศ. 2485 - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 |
หลวงจรัสการคุรุกรรม | 7 มิถุนายน พ.ศ. 2490 - 24 กันยายน พ.ศ. 2491 |
สวัสดิ์ ภูมิรัตน์ | 24 กันยายน พ.ศ. 2491 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2502 |
ดำรง มัธยมนันทน์ | 17 พฤษภาาคม พ.ศ. 2503 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 |
บุญอวบ บูรณะบุตร | 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 - 30 กันยายน พ.ศ. 2518 |
เจตน์ แก้วโชติ | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2518 - 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 |
เจือ หมายเจริญ | 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 - 18 มิถุนายน พ.ศ. 2523 |
ชาลี ถาวรานุรักษ์ | 18 มิถุนายน พ.ศ. 2523 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2530 |
อุดม วัชรสกุณี | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2530 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2533 |
ณรงค์ กาญจนานนท์ | ปลายปี พ.ศ. 2533 - ปลายปี พ.ศ. 2542 |
มังกร กุลวานิช | ปลายปี พ.ศ. 2542 - พ.ศ. 2546 |
สมชัย เชาว์พานิช | พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2547 |
ประกาศิต ยังคง | พ.ศ. 2547 - พ.ศ. 2551 |
คงวุฒิ ไพบูลย์ศิลป | พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2552 |
สุทธิศักดิ์ เฟื่องเกษม | พ.ศ. 2552 - 30 ตุลาคม พ.ศ. 2555 |
ปรเมษฐ์ โมลี | 1 กันยายน พ.ศ. 2555 - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 |
อนันต์ ทรัพย์วารี | 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 |
ประเภทห้องเรียน
ດັດແກ້ประเภทห้องเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ດັດແກ້แบ่งประเภทห้องเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
- 1. ห้องเรียนห้องปกติ 4 ห้อง
- 2. ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ 3ห้อง
- 3. ห้อง Mini English Program (MEP) 2 ห้อง ( เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 )
- 4. ห้อง English Program (EP) 1 ห้อง ( เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 )
โรงเรียนเทพศิรินทร์ได้เป็นผู้ริเริ่มและบุกเบิกแผนการเรียน English Program เป็นโรงเรียนแรกของประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2449
ประเภทห้องเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ດັດແກ້200px|thumbnail|right|ตึกนิภานภดล แบ่งห้องเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- 1. ห้องเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ จำนวน 7 ห้อง (เป็นห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ จำนวน 2 ห้อง และโครงการห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ (IEP) จำนวน 1 ห้อง)
- 2. ห้องเรียนศิลป์ จำนวน 5 ห้อง
- ศิลป์-คณิตศาสตร์
- ศิลป์-ภาษาต่างประเทศ
(หมายเหตุ : ห้องเรียนศิลป์ทั้ง 2 นั้น จะเป็นการเรียนร่วมชั้นเรียนโดยไม่มีการแยกห้องเรียนว่าเป็น ห้องเรียนศิลป์-คณิตศาสตร์ หรือ ห้องเรียนศิลป์-ภาษาต่างประเทศ แต่จะมีวิชาเลือกไปทางสายของตนเอง จึงเป็นที่มาของคำว่า ˝สายศิลป์รวม˝)
ห้องเรียนศิลป์-ภาษาต่างประเทศของโรงเรียนเทพศิรินทร์ เปิดการเรียนการสอนให้กับนักเรียนทั้งหมด 4 ภาษา ได้แก่
- ภาษาฝรั่งเศส
- ภาษาเยอรมัน
- ภาษาจีน
- ภาษาญี่ปุ่น
นักเรียนเก่าที่มีชื่อเสียง
ດັດແກ້- พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 (ทรงเข้ารับการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2475 เลขประจำพระองค์ 2329)
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต (ท.ศ.970)
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล (ท.ศ.1489)
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ (พระองค์ชายเล็ก)
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีระพงศ์ภาณุเดช (เจ้าดาราทอง) (ท.ศ.1705)
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ อดีตองคมนตรีและอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ (ท.ศ.4336)
- หม่อมเจ้าวิมวาทิตย์ รพีพัฒน์ (ทศ. 1190) อดีตอธิบดีกรมสรรพากร,นายกลอนเทนนิสสมาคมแห่งประเทศไทย ทรงเป็นนักกีฬาแข่งม้าชั้นนำของไทย
- หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี (ท.ศ.3944) ประธานมูลนิธิโครงการหลวง
- หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต (ท.ศ.2757)
- หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ (ท.ศ.1957) นักเขียน
- หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ (ท.ศ. 3984) "บิดาแห่งอนุกรมวิธานแมลง" ของเมืองไทย อดีตรัฐมตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ (ท.ศ.5444) นักเขียนและนักจัดรายการวิทยุ/โทรทัศน์
- หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (ท.ศ.193) ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย
- พุ่ม สาคร (ท.ศ.1) นักเรียนทุนเล่าเรียนหลวงคนแรกของประเทศไทย
- ตนกู อับดุล ระห์มัน (ท.ศ.1233) นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศมาเลเซีย โอรสในสุลต่านองค์ที่ 25 แห่งรัฐเกดะห์
- ควง อภัยวงศ์ (ท.ศ.646ป) นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 4
- หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (ท.ศ.1130ป) นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 6
- ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 8
- ชาติชาย ชุณหะวัณ (ท.ศ 4563) นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 17
- กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) นักเขียนผู้ได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโก
- โชติ แพร่พันธุ์ (ยาขอบ) นักเขียนผู้ประพันธ์ "ผู้ชนะสิบทิศ"
- จำกัด พลางกูร สมาชิกและเลขาธิการเสรีไทยสายในประเทศ
- กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี
- พระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช) อดีตประธานศาลฎีกา เป็นนักเรียนทุนเล่าเรียนหลวงของโรงเรียนที่มีชื่อจารึกอยู่บนกระดานทองของโรงเรียน
- อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ องคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา
- มนตรี ยอดปัญญา อดีตประธานศาลฎีกา
- พงษ์นิวัฒน์ ยุทธภัณฑ์บริภาร อดีตอัยการสูงสุด
- วิธวิทย์ หิรัญรุจิพงศ์ อดีตรองประธานศาลฎีกา
- โอสถ โกศิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ตุลาการ
- ประมูล สุวรรณศร อดีตผู้พิพากษา อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เพรียบ หุตางกูร อดีตผู้พิพากษา อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา,ประธานผู้แทนราษฎร,เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์,ทนายความชื่อดัง
- ชมพู อรรถจินดา ทนายความชื่อดัง
- หะริน หงสกุล (ท.ศ.3371) อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประธานรัฐสภา
- อุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา
- กฤษณ์ สีวะรา (ท.ศ. 3984) อดีตผู้บัญชาการทหารบก
- สถิรพันธุ์ เกยานนท์ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ
- พะเนียง กานตรัตน์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ
- วีระยุทธ ดิษยะศริน อุปนายกสมาคมกีฬาทางอากาศ, อดีตพระสวามีในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
- จักรกฤษณ์ ธรรมวิชัย คะแนนอันดับหนึ่ง ร.ร.นายเรืออากาศไทย ได้ทุนไปเรียนต่อที่สหรัฐอเมริกา รางวัลเกียรติยศคะแนนสูงสุดอันดับหนึ่งของโรงเรียนนายเรืออากาศสหรัฐอเมริกา
- หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (ท.ศ. 1001) นักเรียนทุนเล่าเรียนหลวง ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยการชลประทาน
- ศาสตราจารย์นายแพทย์วีกิจ วีรานุวัตติ์ ที่หนึ่งประเทศไทย แผนกวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2481 ผู้นำวงการแพทย์
- ศาสตราจารย์เกียรติคุณเจตนา นาควัชระ ที่หนึ่งประเทศไทย แผนกอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2497
- บุญรอด บิณฑสันต์ (ท.ศ. 2395) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐคนแรกของประเทศไทย
- ประชา คุณะเกษม (ท.ศ. 6429) อดีตปลัดกระทรวงต่างประเทศ ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย
- สรรพสิริ วิรยศิริ (ท.ศ.3663) บุคคลผู้บุกเบิกวงการโทรทัศน์ ข่าวโทรทัศน์ และโฆษณาโทรทัศน์ของไทย ผู้สร้างแอนิเมชั่นในประเทศไทยเป็นคนแรก
- เสม พริ้งพวงแก้ว (ท.ศ.2380) นายแพทย์ผู้บุกเบิกการแพทย์ชนบทและการแพทย์สมัยใหม่
- การุณ เก่งระดมยิง ผู้ก่อตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงทหารสื่อสารและโทรทัศน์ไทย ซึ่งกลายเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ในปัจจุบัน, เสรีไทย
- นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์) ผู้ประพันธ์คำร้องเพลงพระราชนิพนธ์ยูงทอง
- สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ (ท.ศ.5940) นักธุรกิจ ประธานกรรมการบริษัท โอสถสภา จำกัด ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
- ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย นักเขียน
- รุ่งโรจน์ รังสิโยภาส กรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัทปูนซีเมนต์ไทย (SCG)
- พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัทปูนซีเมนต์ไทย (SCG)
- กร สุริยสัตย์ ผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการบริษัทในเครือ TOSHIBA ประเทศไทย
- พระราชวิสุทธิประชานาถ (อลงกต ติกฺขปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดพระบาทน้ำพุ
- ธีรภาพ โลหิตกุล
- ชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์
- ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตเลขาธิการพรรครวมชาติพัฒนาและพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมัย
- สมบัติ เมทะนี (ท.ศ.7044) นักแสดงภาพยนตร์มากที่สุดในโลกถึง 617 เรื่อง
- อนุวัฒน์ สงวนศักดิ์ภักดี [บอย พีซเมกเกอร์] (ท.ศ.29986) นักร้อง
- สมชาย เข็มกลัด (ท.ศ.24435) นักร้อง นักแสดง
- สมเกียรติ จันทร์พราหมณ์ (เสนาลิง)
- นครินทร์ กิ่งศักดิ์ (ท.ศ.19188) นักร้อง
- อานัส ฬาพานิช (ท.ศ.29090) นักแสดง
- ศิรศักดิ์ อิทธิพลพาณิชย์ นักร้อง
- ณัฐสิทธิ์ โกฏิมนัสวนิชย์ นักแสดง
- โสภณ ศักดาพิศิษฏ์ ผู้กำกับภาพยนตร์ "ลัดดาแลนด์"
- ภูศณัฎฐ์ การุณวงศ์วัฒน์ เจ้าของเพจ Little Monster และ เทพลีลา
- อัษฎางค์ ปาณิกบุตร อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย, อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ม.ร.ว.เจตจันทร์ ประวิตร ผู้ก่อตั้งสโมสรฟุตบอลราชประชา
- อนุรักษ์ ศรีเกิด อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
- วรวุฒิ วังสวัสดิ์ อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
- จักรกริช บุญคำ อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
- ไพฑูรย์ เทียบมา อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
- พีรดนย์ ฉ่ำรัศมี นักฟุตบอลสโมสร พัทยา ยูไนเต็ด
- ศุภชัย คมศิลป์ นักฟุตบอลสโมสร บางกอกกล๊าส
- ณัฐวุฒิ หมัดยะลาน นักฟุตซอลทีมชาติไทย
- เลิศชาย อิศราสุวิภากร นักฟุตซอลทีมชาติไทย
- กันตภณ หวังเจริญ นักแบดมินตันทีมชาติไทย
ดูเพิ่ม
ດັດແກ້อ้างอิง
ດັດແກ້ແຫຼ່ງຂໍ້ມູນອື່ນ
ດັດແກ້ແມ່ແບບ:ສະຖານສຶກສາທີ່ພະມະຫາກະສັດໄທກໍ່ຕັ້ງ ແມ່ແບບ:ກຸ່ມໂຮງຮຽນເທບສິລິນ ແມ່ແບບ:ຈະຕຸລະມິດສາມັກຄີ ແມ່ແບບ:ໂຮງຮຽນຊາຍລ້ວນ ແມ່ແບບ:ລາຍຊື່ໂຮງຮຽນຫ້ອງຮຽນພິເສດວິທະຍາສາດ