ເຂດທຸ່ງຄຸ

ເຂດໃນບາງກອກ ປະເທດໄທ
ເຂດທຸ່ງຄຸ
ບາງກອກ
ແຜນທີ່ບາງກອກ ເນັ້ນເຂດທຸ່ງຄຸ
ຫຼວງພໍ່ໂອພາສີທີ່ສັກສິດ ສັດເສດຖະກິດແພະແກະໄກ່ປາ ນົກເຂົາຊະວາສຽງດີ ກ້ວຍຫຼາກສີຫຼາຍພັນ ມະມ່ວງນວນຈັນເລີດລົດ ສົ້ມບາງມົດເລື່ອງຊື່ລືນາມ
ຂໍ້ມູນທົ່ວໄປ
ອັກສອນລາວ ເຂດທຸ່ງຄຸ
ອັກສອນໂລມັງ Khet Thung Khru
ລະຫັດພູມິສາດ 1049
ລະຫັດໄປສະນີ 10140
ຂໍ້ມູນສະຖິຕິ
ພື້ນທີ່ 30.741 ຕລ.ກມ.
ປະຊາກອນ 120,976[1] ຄົນ (ຄ.ສ. 2016)
ຄວາມໜາແໜ້ນ 3,935.33 ຄົນ/ຕລ.ກມ.
ສຳນັກງານເຂດ
ບ່ອນຕັ້ງ ເລກທີ່ 2 ຊອຍປະຊາອຸທິດ 86 (ພຶ່ງສາຍບຳເພັນ) ຖະໜົນປະຊາອຸທິດ ແຂວງທຸ່ງຄຸ ເຂດທຸ່ງຄຸ ບາງກອກ 10140
ພິກັດ 13°36′42.25″N 100°30′34.40″E / 13.6117361°N 100.5095556°E / 13.6117361; 100.5095556
ໝາຍເລກໂທລະສັບ 0 2464 4380
ໝາຍເລກໂທລະສານ 0 2464 4385
ເວັບໄຊຕ໌ ເວັບໄຊຕ໌ສຳນັກງານເຂດທຸ່ງຄຸ
ສາລານຸກົມປະເທດໄທ ສ່ວນໜຶ່ງຂອງສາລານຸກົມປະເທດໄທ

ເຂດທຸ່ງຄຸ ຫຼື ເຂດທຸ່ງຄຣຸ (ໄທ: เขตทุ่งครุ) ແມ່ນ 1 ໃນ 50 ເຂດການປົກຄອງຂອງບາງກອກ ຈັດຢູ່ໃນກຸ່ມເຂດກຸງທົນໃຕ້ ສະພາບທົ່ວໄປເປັນແຫຼ່ງທີ່ຢູ່ອາໄສໜາແໜ້ນນ້ອຍແລະໜາແໜ້ນປານກາງ ໂດຍມີພື້ນທີ່ເຮັດການກະເສດເປັນຫຼັກທາງທິດຕາເວັນຕົກສຽງໃຕ້

ບ່ອນຕັ້ງແລະອານາເຂດ

ດັດແກ້

ຕັ້ງຢູ່ທາງທິດຕາເວັນອອກສຽງໃຕ້ຂອງຝັ່ງທົນບຸລີ ມີອານາເຂດຕິດຕໍ່ກັບພື້ນທີ່ການປົກຄອງຕ່າງໆ ຮຽງຕາມເຂັມໂມງດັງນີ້

  • ທິດເໜືອ ຕິດຕໍ່ກັບເຂດຈອມທອງແລະເຂດເຂດລາດບູລະນະ ມີລຳຮາງສາທາລະນະ ຄອງກໍໄຜ່ຂວດ ລຳຮາງສາທາລະນະ ຄອງຕາທຽບ ຄອງລາດບູລະນະ ຄອງຂ້າງໂຮງຮຽນຂະຈອນໂລດ ລຳຮາງສາທາລະນະ ຄອງແຈງຮ້ອນ ແລະລຳຮາງສາທາລະນະເປັນເສັ້ນແບ່ງເຂດ
  • ທິດຕາເວັນອອກ ຕິດຕໍ່ກັບອຳເພີພະປະແດງ (ຈັງຫວັດສະໝຸດປາການ) ມີຄອງບາງຜຶ້ງ ລຳຮາງສາທາລະນະ ຄອງຂຸດເຈົ້າເມືອງ ແລະຄອງຮາງໃຫຍ່ເປັນເສັ້ນແບ່ງເຂດ
  • ທິດໃຕ້ ຕິດຕໍ່ກັບອຳເພີພະສະໝຸດເຈດີ (ຈັງຫວັດສະໝຸດປາການ) ມີຄອງບາງຈາກ ຄອງກະອອມໃນ ຄອງທ່າກວຽນ ຄອງຕາສົນ ແລະຄອງກະອອມເປັນເສັ້ນແບ່ງເຂດ
  • ທິດຕາເວັນຕົກ ຕິດຕໍ່ກັບເຂດບາງຂຸນທຽນ ມີຄອງຮາງແມ່ນ້ຳແລະຄອງບາງມົດເປັນເສັ້ນແບ່ງເຂດ

ที่มาของชื่อเขต

ດັດແກ້

ความหมายของคำว่า " ทุ่งครุ " ตามพจนานุกรม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 มิได้ให้ คำจำกัดความของคำว่า " ทุ่งครุ " ไว้เป็นการเฉพาะ แต่ได้ให้คำจำกัดความของคำว่า " ทุ่ง " กับ " ครุ " ไว้ว่า " ทุ่ง " หมายถึง ที่ราบโล่ง " ครุ " หมายถึง ภาชนะสานชนิดหนึ่งใช้ตักน้ำรูปกลมๆ ยาชัน เมื่อนำความหมายของคำจำกัดความทั้งสองมารวมกัน น่าจะหมายถึง " พื้นที่ราบโล่ง ใช้สาน ภาชนะตักน้ำรูปกลมๆ ยาชัน " จากความหมายดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าในอดีตท้องที่เขตทุ่งครุ เป็นที่ราบโล่ง ลุ่ม มีแหล่งน้ำหลายแห่งเหมาะแก่การเพาะปลูก ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกร ทำสวนและมีฝีมือทางการจักสาน

ประวัติ

ດັດແກ້

เดิมทุ่งครุมีฐานะเป็น ตำบลทุ่งครุ ขึ้นอยู่กับอำเภอราษฎร์บูรณะ จังหวัดธนบุรี ต่อมาอำเภอราษฎร์บูรณะได้ถูกโอนไปขึ้นกับจังหวัดพระประแดงอยู่ช่วงหนึ่ง จนกระทั่งจังหวัดนี้ถูกยุบลงเป็นอำเภอในจังหวัดสมุทรปราการ อำเภอราษฎร์บูรณะรวมทั้งตำบลทุ่งครุจึงกลับมาอยู่ในการปกครองของจังหวัดธนบุรีอีกครั้ง และภายหลังได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนการเรียกชื่อตำบลและอำเภอใหม่ด้วย ตำบลทุ่งครุจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงทุ่งครุ ขึ้นกับสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ จนกระทั่งวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยจัดตั้ง เขตทุ่งครุ ขึ้น โดยแบ่งพื้นที่ทางทิศใต้ของเขตราษฎร์บูรณะออกมา 2 แขวง

การแบ่งเขตการปกครอง

ດັດແກ້

ท้องที่สำนักงานเขตทุ่งครุแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง (khwaeng) ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(พฤษภาคม 2560)
จำนวนบ้าน
(พฤษภาคม 2560)
ความหนาแน่นประชากร
(พฤษภาคม 2560)
บางมด Bang Mot
12.765
54,681
25,929
4,283.66
ทุ่งครุ Thung Khru
17.976
66,609
24,631
3,705.44
ทั้งหมด
30.741
121,290
50,560
3,945.54

ประชากร

ດັດແກ້

การคมนาคม

ດັດແກ້

ในพื้นที่เขตทุ่งครุมีทางสายหลัก ได้แก่

ทางสายรองได้แก่

สถานที่สำคัญ

ດັດແກ້

มหาวิทยาลัย

ດັດແກ້

โรงเรียน

ດັດແກ້
  • วัดทุ่งครุ
  • วัดบางมดโสธราราม (กลางนา)
  • วัดพุทธบูชา
  • วัดหลวงพ่อโอภาสี

อื่น ๆ

ດັດແກ້

ອ້າງອິງ

ດັດແກ້

ແມ່ແບບ:ລາຍການອ້າງອິງ

ແຫຼ່ງຂໍ້ມູນອື່ນ

ດັດແກ້


  1. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,กองปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/. สืบค้น 14 กุมภาพันธ์ 2560.
  2. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.