ພາສາໄທລື້: Difference between revisions

Content deleted Content added
→‎ຣະບົບສຽງ: ພາສາລື້
Undo revision 52235 by 202.137.132.87 (talk)
ແຖວ 17:
'''ພາສາໄທລື້''' (ໄທລື້: ໄຕ ຫຼື ໄຕລື້; [[ພາສາຈີນ]]:傣仂语; ພິນຢິນ: Dǎilèyǔ; ຫວຽດນາມ: Lự ຫຼື Lữ) ເປັນ[[ພາສາໄຕ]]ພາສານຶ່ງ ຢູ່ໃນ[[ຕະກູນພາສາໄທ-ກະໄດ]]. ມີຄຳສັບ ແລະ ການຮຽງຄຳສັບຄ້າຍພາສາລາວ ແລະ ພາສາໄຕອື່ນໆ. ຜູ້ເວົ້າພາສາໄທລື້ ເອີ້ນວ່າ ໄທລື້ ຫຼື ເຜົ່າລື້ ພາສາໄທລື້ມີຜູ້ເວົ້າໃນອາຊີຕາເວັນອອກສຽງໃຕ້ ປະມານ 670,000 ຄົນ ໂດຍມີຈຳນວນຜູ້ເວົ້າໃນປະເທດຈີນ 250,000 ຄົນ, ໃນພະມ້າ 200,000 ຄົນ, ໃນໄທ 134,000 ຄົນ,ໃນລາວ 300,000 ແລະ ຫວຽດນາມ 5,000 ຄົນ
 
== ຣະບົບສຽງ ==
ภาษาไทลื้อ เป็นภาษาที่มีเสน่ห์อีกภาษาของล้านนา
ສຣະພາສາໄທລື້ ມີ '''ອະ ອາ ອິ ອີ ອຸ ອູ ເອ ໂອ''' ເຊິ່ງຫາກນຳສຽງສຣະເຫຼົ່ານີ້ມາຜັນແລ້ວຈະໄດ້ສຳນຽງຄຳສະເພາະຂຶ້ນມາ
 
ພາສາໄທລື້ (ປຽບທຽບການຜັນອັກສອນຕາມພາສາລາວ)
พอดีข้าเจ้า เป็น คนไทลือ เนอะเจ้า ก็เลยอยากจะนำเสนอ ภาษาของชนชาติตัวเกา หื้อ สมาชิก ส่งสการ ได้ อ่านหื้อเป็นความรู้ หากผิดพลาดประการใด ข้าเจ้า ก็ขอ อภัยมา ณ .ตี้นี้ ต่วยเน้อ หรือ หากมีผู้รู้ หรือสมาชิกท่านใดจะเพิ่มเติมแก้ไขข้อมูล ตี้ได้นำเสนอ หรือจะ อู้ฟุ่จา ภาษาไทลือกับข้าเจ้า  กับข้าเจ้าก็สะหรี่ยินดี เน้อ เจ้า ไหว้สาเจ้า
 
* ບໍ່ມີສຣະ ເອັຽ ສະນັ້ນຈະອອກສຽງ ສຣະ ເອ ແທນ ເຊັ່ນ ເຢ (ເຍັຽ) ເມ (ເມັຽ) ເຕ້ (ເຕັ້ຽ) ເສ (ເສັຽ ໃຊ້ກັບງານທີ່ກ່ຽວກັບຜີ) ເບ (ເບັຽຣ໌) ເມ່ງ (ມ່ຽງ) ເຈງທອງ (ຊຽງທອງ)
คำพูดภาษา ของชาวลื้อได้รับอิทธิพลของจีน และ พม่ามากกว่าล้านนา จึงมีสุภาษิตของชาวลื้อว่า "มีม่านเป๋นป่อ มีฮ่อเป๋นแม่" เช่นคำว่า เซ่อ ในภาษาจีน แปลว่า เจ้า ภาษาไทลื้อ มีความหมายอย่างเดียวกัน ในส่วนของล้านนานั้น อิทธิพลภาษาลื้อ และวัฒนธรรม เห็นเด่นชัดที่สุดคือ ลำพูน และน่าน เพราะสำเนียงภาษาที่นั่นส่วนใหญ่ คำล้านนาบางคำได้สูญหายไป คำศัพท์ภาษาลื้อมาแทน ค่อนข้างมาก เพราะประชากรของชาวไทลื้อมีอยู่มาก กว่าคนเมือง
* ບໍ່ມີສຣະ ອົວ ສະນັ້ນຈະອອກສຽງ ສຣະ ໂອ ແທນ ເຊັ່ນ ໂຂ (ຂົວ) ໂງ (ງົວ) ໂກ (ກົວ) ໂຫ (ຫົວ) ໂຕ (ຕົວ) ໂຄ (ຄົວ)
* ບໍ່ມີສຣະ ອົວະ ສະນັ້ນຈະອອກສຽງ ສຣະ ໂອະ ແທນ ເຊັ່ນ ໂລ໊ະ (ແນມຫາ) ໂລະ (ລົວະ) ໂກະ (ຖາດຮອງອາຫານ) ໂຕະ (ຕົວະ) ໂສະ (ສົວະ)
* ບໍ່ມີສຣະ ອຽກ ສະນັ້ນຈະອອກສຽງ ສຣະ ເອະ ແທນ ເປະ (ປຽກ)
* ບໍ່ມີສຽງສຣະ ເອືອ ສະນັ້ນຈະອອກສຽງ ສຣະ ເອີ ແທນ ເຊັ່ນ ເມີ (ເມືອ) ເກີ (ເກືອ) ເສີ (ເສືອ)
* ບໍ່ມີສຽງສຣະ ເອືອງ ສະນັ້ນຈະອອກສຽງ ສຣະ ເອີງ ແທນ ເຊັ່ນ ເມີງ (ເມືອງ)
* ອ່ານສຽງໄມ້ກັນ ເປັນສຽງ ສຣະ ແອະ ເຊັ່ນ ຄຳວ່າ ຕັນ (ທັນ) ອອກສຽງວ່າ ແຕັນ, ໝາກແຕັນ (ກະທັນ)
 
*ຕົວອັກສອນໃນພາສາໄທລື້ຈະໃຊ້ແຕກຕ່າງຈາກພາສາລາວເລັກນ້ອຍ
ภาษาไทลื้อ (เปรียบเทียบการผันอักษรตามภาษาไทย)
ເຊັ່ນ: ພ ເປັນສຽງ ປ : ໝາກພ້າວ ເປັນ ໝາກປ້າວ, ຊ ເປັນສຽງ ຈ : ໃຊ້ ເປັນ ໃຈ້
สระภาษาไทลื้อ มี อะ อา อิ อี เอ โอ้ ซึ่งหากนำเสียงสระเหล่านี้มาผันแล้วจะได้สำเนียงคำเฉพาะขึ้นมา
ໝາຍເຫດ (ນ. ຄື ຄຳນາມ ກ. ຄື ຄຳກິຣິຍາ)
ไม่มีสระเอีย ฉะนั้นจะออกเสียง สระ เอ แทน เช่น เย (ฉางข้าวขนาดใหญ่ที่มีหลังคามุง) เม (เมีย) เต (รื้อถอน)เส (เสีย ใช้กับงานที่เกี่ยวกับผี) เบ (เบียร์)เม่ง (เมี่ยง) เจงหม่าย (เชียงใหม)
ไม่มีสระ อัว ฉะนั้นจะออกเสียง สระโอแทน เช่น โข (ขัว สะพาน) โง (วัว) โก๋ (กลัว) โห (หัว) โต๋ (ตัว) โค ((ก.)ล้างทำความสะอาด (น.)เสื้อผ้า)
ไม่มีสระอัวะ ฉะนั้นจะออกเสียง สระโอ๊ะแทน เช่น โล๊ะ (มองหา) โหล๊ะ (เสีย หรือ พัง) โก๊ะ (ถาดรองอาหาร) โต๊ะ (หลอก หรือ โกหก) โส๊ะ (ผสมปนเปกัน)
ไม่มีสระเอียะ ฉะนั้นจะออกเสียง สระ เอะ แทน เย๊ะ (ทำ) เป๊ะ (เปียก)
ไม่มีเสียงสระเอือะ ฉะนั้นจะออกเสียงสระเออ แทน เช่น เมอ (ไป) เก๋อ ((ก.)ให้อาหารสัตว์,(น.)เกลือ) เสอ (เสือ)
ไม่มีเสียงสระ เอือ ฉะนั้นจะออกเสียงสระเออ แทน เช่น เมิง (เมือง)
อ่านเสียงไม้หันอากาศ เป็นเสียง สระ แอ ผสมกับไม้ไต่คู้ เช่น คำว่า ตัน (ทัน)ออกเสียงว่า แต็น , หม่าแต็น (พุทรา)
หมายเหตุ (น.คือ คำนาม ก. คือคำกริยา)
สำเนียงจะสูงต่ำกันไป บางคำหากฟังสำเนียง คำคำเดียว กันแต่ ออกเสียงต่างกันนิดเดียว ความหมายจะเปลี่ยนไปทันที ซึ่งสำเนียงการผันจะต่างกันนิดเดียว เพราะชาวไทลื้อมักพูดเร็ว และตัดประโยคคำให้สั้นลง เช่น คำว่า เมอ แปลว่า ไป, บฺเม้อ (บ ควบกับคำว่าเมอ ออกเสียงสั้นครึ่งเสียง) แปลว่า ไม่ไป ,ได่ (ได้) บฺได่ (ไม่ได้) ออกเสียง บ่ะ ครึ่งเสียง ควบกับคำว่าได่
ภาษาไทลื้อในตระกูลเผ่าไทลื้อทั้ง 5 เผ่า นั้นแบ่งสำเนียงภาษาการพูดออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ โดยอาศัยสภาพทางภูมิศาสตร์ของแม่น้ำล้านจ้าง(โขง) เป็นตัวแบ่ง สำเนียงแรก คือ สำเนียงเชียงรุ่ง และสำเนียงเมืองล้า
 
ສຳນຽງຈະສູງຕ່ຳກັນໄປ ບາງຄຳຫາກຟັງສຳນຽງ ຄຳຄຳດຽວ ກັນແຕ່ ອອກສຽງຕ່າງກັນນ້ອຍດຽວ ຄວາມໝາຍຈະປ່ຽນໄປທັນທີ ເຊິ່ງສຳນຽງການຜັນຈະຕ່າງກັນເລັກນ້ອຍ ເພາະໄທລື້ ມັກເວົ້າໄວ ແລະ ຕັດປໂຍກຄຳໃຫ້ສັ້ນລົງ ເຊັ່ນ ຄຳວ່າ ເມີ ແປວ່າ ເມືອ, ບເມີ (ບ ຄວບກັບຄຳວ່າເມີ ອອກສຽງສັ້ນເຄິ່ງສຽງ) ແປວ່າ ບໍ່ເມືອ , ໄດ້ ບໄດ້ (ບໍ່ໄດ້) ອອກສຽງ ບະ ເຄິ່ງສຽງ ຄວບກັບຄຳວ່າ ໄດ້
สำเนียงเชียงรุ่ง หรือพูดอีกอย่างหนึ่งคือ สำเนียงคนยองถือว่าเป็นสำเนียงภาษากลางของชาวไทลื้อ คือเป็นภาษาของชาวเชียงรุ่ง เป็นสำเนียงที่พูดช้าและฟังดูสุภาพ มักมีคำว่า "เจ้า" ต่อท้ายเหมือนคนล้านนา สำเนียงนี้เป็นสำเนียงที่ใช้ในบริเวณสิบสองปันนาตอนกลาง และตะวันตกของสิบสองปันนา ครอบคลุ่มถึงรัฐฉาน ประเทศพม่า ประกอบด้วย (เมืองยอง, เมืองหลวย, เมืองยู้, เมืองเชียงลาบ, เมืองเลน, เมืองพะยาก และเมืองไฮ) เลยมาถึงประเทศลาวแถบเมืองสิงห์ (เชียงทอง), เชียงแขง, เวียงภูคา, บ่อแก้ว, ไซยะบูลี, เชียงฮ่อน, เชียงลม และหงสา โดยมีสำเนียงจะออกกลางๆ การผันสำเนียงเสียง จะอยู่ในระดับกลางๆ ขึ้นๆ ลงๆ ค่อนข้างน้อย แต่มักตัดคำพูดควบกันให้สั้นลง และมักเอื้อนเสียงพูด หรือลากเสียงยาว ภาษาชาวไทลื้อกลุ่มนี้พูดกันมากในจังหวัดลำพูน เชียงใหม่ ลำปาง แพร่ เชียงราย น่าน (นับแต่ ตำบลยม อำเภอท่าวังผา, อำเภอปัว ขึ้นไปจนถึงเมืองเงิน และหลวงพระบาง, เมืองสิงห์ ของประเทศลาว)
 
สำเนียงภาษาไทลื้อกลุ่มเมืองล้า ได้รับอิทธิพลสำเนียงมาจากภาษาลาว หรือภาษาพวน มาค่อนข้างมาก สำเนียงการพูดออกไปทางภาษาลาว การผันสำเนียงขึ้นลงค่อนข้างเร็ว แต่ต่างกันที่สำเนียงพูดยังคงเป็นภาษาลื้อที่ไม่มี สระ อัว อัวะ เอีย สำเนียงการพูดนี้จะพูดในกลุ่มของชาวไทลื้อเมืองหล้า เมืองพง เมืองมาง เมืองเชียงบาน โดยในประเทศไทย ภาษากลุ่มนี้จะพูดใน อำเภอเชียงม่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา, อำเภอสองแคว อำเภอท่าวังผา (เฉพาะตำบลป่าคา และตำบลยอด อำเภอสองแคว) จังหวัดน่าน)
นอกจากนี้คำบางคำในภาษาไทลื้อยังแตกต่างกันไปตามสภาพของภูมิศาสตร์ และอิทธิพลของภาษากลุ่มที่ใกล้เคียง
ส่วนรูปสุดท้าย จะเป็น อักษรไทลื้อ เปรียบเทียบกับอักษรไทย
 
== ສຳນຽງ ==
ດຶງຂໍ້ມູນຈາກ "https://lo.wikipedia.org/wiki/ພາສາໄທລື້"